วัดนางชี http://watnangchi.siam2web.com/

 

วัดนางชี

 เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีตั้งอยู่ ณ เลขที่ 312

แขวงปากคลองภาษีเจริญ   เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ

อาณาเขต

วัดนางชี มีเนื้อที่ 

ทิศเหนือ ติดกับหมู่บ้านบริเวณคลองวัดนางชี

ทิศใต้ จดคลองวัดนางชี

ทิศตะวันออก จดคลองด่าน

ทิศตะวันตก ติดกับวัดนาคปรก

วัดนางชีเป็นวัดโบราณ ตั้งขึ้นเมื่อ พ

 

.. 2306 ไม่ปรากฏนามผู้สร้าง ใน พ.. 2309

ได้รับพระ

ราชทานแก่วิสุงคามสีมา

 

(เขตพระราชทานแก่สงฆ์เพื่อใช้เป็นที่สร้างพระอุโบสถ)

สถาปนาเป็น

พระอารามหลวงในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

 

(รัชกาลที่ 3 .

.2367- 2394)

ที่มาของชื่อวัดนางชี

สาเหตุที่ชื่อ

 

วัดนางชี

นั้นสันนิษฐานว่า ได้ชื่อมาจากพระนามของสมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์

มหานาคนารี พระชนนีของสมเด็จพระอมรินทรา บรมราชินี ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา

โลกมหาราช

 

(รัชกาลที่ 1 ..2325-2352)

สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์ มหานาคนารี เสด็จหนีออกมาบวช

เป็นชี เนื่องจากในสมัยรัชกาลที่

 

1

เกิดความขัดแย้งกันในพระบรมวงศานุวงศ์ ขณะที่เป็นพระรูปชีนั้น

พระองค์ได้ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์วัดนางชี แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าทรงบูรณะ ปฏิสังขรณ์อะไรบ้าง

สถานที่ตั้ง

ประวัติความเป็นมาและการปฏิสังขรณ์

 

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงเป็นองค์พุทธศาสนูปถัมกกและมีพระ

ราชศรัทธาในการสร้างวัดเป็นอย่างยิ่ง พระองค์ได้ทรงสร้างวัดขึ้นใหม่และยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้า

ฯ ให้ปฏิสังขรณ์วัดต่างๆ ทั่วประเทศ วัดนางชีเป็นหนึ่งในจำนวน

 

25

วัด ที่พระมหากษัตริย์และขุนนาง

บูรณะปฏิสังขรณ์ดังปรากฏในพระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่

 

3

ฉบับเจ้าพระยาทิพากร

วงศ์ ว่า

 

พระยาโชฎึกราชเศรษฐี (จ๋อง) บูรณะวัดนางชี วัด 1

วัดในคลองบางยี่ขัน ซึ่งเป็นวัดของมารดา

ท่าน

 

1 วัด วัดคูหาสวรรค์นั้นโปรดให้เจ้าพระยามหาโยธาไปบูรณะขึ้นวัด 1…

รวมเจ้าและขุนนางสร้าง

ขึ้นทั้งสิ้น

 

5 วัด บูรณะวัด 25 วัด รวม 30 วัด ที่ถวายเป็นพระอารามหลวงก็ได้พระราชทานเงินช่วย

การบูรณะการปฏิสังขรณ์ในสมัยรัชกาลที่

 

3

ไม่ปรากฏหลักฐานการบูรณะทราบแต่ศิลปวัตถุใน

วัดสร้างตามสถาปัตย์แบบจีนซึ่งเป็นศิลปนิยมในสมัยนั้นเป็นอย่างมาก เห็นได้จากพระบาทสมเด็จพระ

นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสั่งทำกระเบื้องเคลือบรูปเรือสำเภาจากประเทศจีน จำนวน

 

2

คู่ แล้วพระราชทาน

ให้กับวัดนางชี

 

1

คู่ เพื่อใช้ประดับหน้าบันพระวิหารที่สร้างตามศิลปะแบบจีน คือไม่มีชื่อฟ้า ใบระกา

และหางหงส์ นอกจากนี้ ยังได้พระราชทานเสาหินเทียบเรือพระที่นั่ง ซึ่งทรงสั่งทำจากประเทศจีนด้วย

ปัจจุบันทางวัดได้นำขึ้นมาตั้งเป็นป้ายหน้าวัด

ในการปฏิสังขรณ์วัดนางชีนั้น พระยาโชฎึกราชเศรษฐี

 

(จ๋อง)

ก็ได้ร่วมบูรณะปฏิสังขรณ์ด้วย

โดยทำเป็นศิลปะแบบจีนประดับประดาด้วยเครื่องเคลือบลวดลายของจีนทั้งหมด ตลอดจนได้นำเอา

ตุ๊กตาหินแบบจีน เช่น ถ้วยถาม รูปกระจก ลายเขียน กาน้ำร้อน หรือปั้นน้ำร้อนแบบจีน ประเภทกังไส

ซึ่งปรากฏอยู่ทุกวัน นอกจากนี้ ท่านยังได้ถวายเตียงไม้มะเกลือประดับมุกและหินอ่อนตจำนวน

 

1

หลัง

ลับแลหรือฉากบังเตียงแกะฉลุลายไทย ฝีมือจีน มีผ้าแพรปักใหมเป็นรูปเขา ไม้ และรูปสัตว์ต่าง ๆ

จำนวน

 

2

บาน ปัจจุบันอยู่ในพระวิหาร

ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

 

(รัชกาลที่ 5 .. 2411-2453)

พระ

องค์ได้เสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนพยุหยาตราชลมารค มาวัดนางชี ใน พ

 

.. 2478

ดังปรากฏใน

หนังสือ

 

COURT ข่าวราชการ เจ้านาย 11 พระองค์ช่วยกันแต่งว่า

 

ณ วัดพฤหัสบดี แรม 14 คำ เดือน 11 ปีกุน สัปตศก จุลศักราช 1237

เวลาเที่ยงเศษ พระบาท

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชาดำเนินออกทางทวารหน้าพระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ ประทับเกย

ทรงพระราชยานไปประทับท่าเรือวรดิษฐ์ เสด็จพระราชดำเนินลงเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ เรือ

พระที่นั่งสุพรรณหงส์เปนเรือไชยเดิรพระบวรไปเข้าคลองบางเหลวงแล้วออกทางด่านไปประทับวัดนาง

ชี ซึ่งจะเสด็จพระราชทานพระกฐินเปนที่

 

1 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ จมื่นประธานมณเฑียร 1

จ่า

ชำนาญ

 

1 ไปเกาะตัวพระยารามคำแหง ซึ่งขาดเรือกลงอแขกนำเสด็จนั้นมาลงอาญา 3

พระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยู่หัว เสด็จเข้าไปในพระอุโบสถ ทรงจุพดเทียนเครื่องนมัสการแล้ว นายบำเรออ่านจำนวนพระ

สงฆ์ซึ่งจำพรรษาในพระอารามนั้นทูลเกล้าฯ ถวาย จำนวนพระสงฆ์พระอารามนั้น พระครุถานุกรม

 

2

อันดับเรียนรคันถธุระ

 

10 อันดับ เรียนวิปัสนาธุระ 10 อันดับ เล่าสวดมนต์ 8 รวมพระสงฆ์ 31

รูป มาก

3

กว่าปีจอฉศก

 

6 รูป พระสงฆ์จำพรรษาปีจอฉศก 25

รูป ครั้นอ่านถวายแล้ว จึงพระราชทานผ้าห่มพระ

พุทธรูปด ให้เจ้าพนักงานภูษามาลาเอาไปห่มพระพุทธรูป แล้วพระราชทานเทียนอุโบสถ

 

24

เล่ม ให้พระ

องค์เจ้าโสภบันทิตทรงประเคนพระสงฆ์แล้วทรงถวายกฐิน ครั้นทรงจบพระสงฆ์ก็รับสาธุ แล้วทรงยก

พระไตรไปตั้งริมอาสน พระครูวิสุทธิศีลาจารย์ก็ว่าคำปฤกษาพระสงฆ์ ครั้นจบพระสมุห์ก็ว่า เห็นสม

ควรแก่พระครูวิสุทธิศีลาจารย์ พระสงฆ์ ก็รับมาสาธุพร้อมกัน พระสงฆ์สองรูป จึงสวดให้พระกฐิน

ด้วยฯตติทุติยกรรม ครั้นจบแล้วพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็ทรงพระราชทานไตรปีแก่ถานานุกรม

 

2

รูป พระสงฆ์ก็ไปครองผ้าเสร็จ พระครูสุทธิศีลาจารย์ก็กรานกฐินด้วยผ้าสังฆากิ แล้วพระสงฆ์ก็

อนุโมทนากฐิน ครั้นแล้วจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมหมื่นภูวนัยนฤเบนทราธิบาลถวายเครื่อง

บริขาร พระสงฆ์ก็สวดอนุโมทนาทานเสร็จแล้ว พระพินิตพินัยวัดราบบูรณะก็ถวายอติเรกพระสงฆ์สวด

ภะวะตุสัพจบแล้วพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเรือพระที่นั่งไปประทับฉนวนวัดหนังซึ่งจะเสด็จ

พระราชดำเนินทรงทอดพระกฐินวัดหนังเปนวัดที่

 

2 ”

*

หมายเหตุ

หนังสือ

 

COURT ข่าวราชการ เจ้านาย 11 พระองค์ช่วยกันแต่ง, เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 2, (

ทรง

พระกรุณาโปรดเกล้า ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระราชพิธี ถวายเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีนค

รินทราบรมราชกุมารี กรุงเทพฯ

 

: สำนักราชเลขาธิการ, 2539) หน้า

152 - 153

และในปี พ

 

.. 2423

ได้เสด็จพระราชทานพระกฐิน ดังปรากฏในจดหมายเหตุราชกิจรายวันว่า

 

วันที 4774 วันจันทร์ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง โทศก จุลศักราช

1242

เวลาบ่าย

 

2

โมง ทรงเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ์ เรือสุวรรณเหราเป็นพระที่นั่งรอง เรือ

ไชยสุวรรณหงส์เป็นเรือผ้าไตร เสด็จพระราชดำเนินเข่าคลองบางกอกใหญ่เลี้ยวด้านประดับวัดนางชี ที่

1

 

โปรดให้พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ถวายของ แล้วพระราชทานผ้าไตรผ้ากฐิน ให้ทูลกระหม่อมพระองค์

ใหญ่ไปทอดกฐินวัดหนัง โปรดให้ทูลกระหม่อมพระองค์น้อยไปทอดกฐินวัดนางนอง แล้วเสด็จวัดราช

โอรส โปรดให้พระองค์เจ้าจิตรเจริญเอาไตรปีไปไถวายพระสังวรวิมล ซึ่งพาธอยู่ลงไม่ได้โปรดให้

เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์เข้าไปเฝ้าพระอุโบสถแล้วโปรดให้กรมขุนเจริญผลถวายของ แล้วเสด็จกลับ

เวลาบ่าย

 

3

โมง

วันนี้ทรงฉลองพระองค์ฟรอกโค๊ต เจ้านายและข้าราชการแต่งอีวนิงเดรส

 

นอกจากนี้ในรัชกาลที่

 

5 มีหลักฐานปรากฏว่า ใน พ.. 2443

พระครูวิสุทธศีลาจารย์ เจ้าอาวาส

ได้สร้างกันสาดด้วยสังกะสีรอบพระอุโบสถ เพื่อป้องกันน้ำฝนสาดฝนังและหน้าต่าง ต่อมาใน พ

 

.

.

2448

 

ได้ปฏิสังขรณ์พระอุโบสถ พระวิหาร ศาลาการเปรียญ เสนาสนะต่าง ๆ ที่ชำรุดหักพังให้ดีขึ้นเรื่อย

มา เห็นได้จากสมัยเจ้าอาวาสรูปที่

 

10 พระครูบริหารบรมธาตุ (ป่วน พ.. 2454)

ได้สร้างศาลาการเปรียญ

ขึ้นที่ริมคลองด่าน ทำด้วยไม้สักทั้งหลัง มีขนาดกว้าง

 

8 วา ยาว 12

วา หลังคามุงกระเบื้องแบบทรงไทย

4

ประดับใบระกาและหางหงส์ครบถ้วน และสร้างศาลาโรงธรรม มีอาสนาสงฆ์เป็นที่สำหรับตั้งศพบำเพ็ญ

กุศล

 

(ปัจจุบันได้รื้อไปแล้ว 2 หลัง เพราะชำรุดโทรดโทรมมาก

)

ต่อมาในสมัยเจ้าอาวาสรูปที่

 

14 พระครูประสาทสมาธิคุณ (วิชัย,..2521 - 2534)

ได้บูรณะ

ปฏิสังขรณ์และก่อสร้าง ดังปรากฏตามรายการต่อไปนี้

 

.. 2522 สร้างกำแพงล้อมสุสานของวัด ยาว 40 เมตร สูง 3

เมตร พร้อมกับซื้อดินและ

ทราย ถมพื้นที่ในเนื้อที่

 

600 ตารางวา สิ้นค่าก่อสร้างและถมที่เป็นเงิน 500,000

บาท

 

.. 2523 ปฏิสังขรณ์กุฏิเจ้าอาวาส เป็นกุฎิหมู่ลักษณะเป็นตึก เป็นเงิน 340,000

บาท

 

.. 2524 สร้างเขื่อนหน้าวัด ยาว 160 เมตร พร้อมทั้งถมดิน เป็นเงิน 300,000

บาท

 

.. 2526 สร้างกุฏิทรงไทย 2 ชั้น เป็นเงิน 150,000 บาท สร้างห้องน้ำห้องส้วม 1

ห้อง

เป็นเงิน

 

50,000

บาท

 

.. 2529 สร้างเขื่อนกั้นดิน เพื่อป้องกันน้ำท่วม พร้อมทั้งถมดิน เป็นเงิน 530,000

บาท

 

.. 2530 สร้างกุฏิคอนกรีตเสริมเหล็ก พร้อมกับทำกำแพงล้อมรอบ เป็นเงิน

500,000

บาท สร้างเขื่อนหน้าวัด ยาว

 

20 เมตร เป็นเงิน 50,000 บาท ซ่อมประตูด้านหน้าพระวิหาร 2

ช่อง เขียน

รายลดน้ำรูปเซี่ยวกางเหยียบสิงห์ตามลายเดิม เป็นเงิน

 

50,000

บาท สร้างรั้วหน้าวัดพร้อมทั้งประดับโคม

ไฟ เป็นเงิน

 

30,000 บาท สร้างป้ายหน้าวัดด้วยหินอ่อนเป็นเงิน 50,000

ยกเสาหงส์ที่จมอยู่ใต้ดิน ให้ตั้ง

ใหม่สิ้นค้าแรงงานและค่าตกแต่งเป็นเงิน

 

50,000

บาท


.. 2531 ซ่อมธรรมาสน์เทศน์ เป็นเงิน 100,000

บาท

 14 ไร่ 3 งาน 56 ตารางวา มีอาณาเขตดังนี้





วัดนางชี

วัดอารามหลวง

Photos


(Root) 2008730-13-65288.jpg          (Root) 2008730-13-65302.jpg           (Root) 2008730-13-65311.jpg           (Root) 2008730-13-65320.jpg
Advertising Zone    Close

Online: 1 Visits: 29,652 Today: 74 PageView/Month: 1,532

ด้วยความปราถนาดีจาก "สยามทูเว็บดอทคอม" และเพื่อป้องกันการเปิดเว็บไซต์เพื่อหลอกลวงขายของ โปรดตรวจสอบร้านค้าให้แน่ใจก่อนตัดสินใจซื้อของทุกครั้งนะคะ    อ่านเพิ่มเติม ...